broken image
broken image

Where France and Thailand meet!   

  • Home - หน้าหลัก
  • Culture - วัฒนธรรม
  • Français - ภาษาฝรั่งเศส
  • Science&Education - วิทยาศาสตร์
  • Press & Partners

สะพานข้ามประวัติศาสตร์

ชาวฝรั่งเศสทุกคนต่างก็รู้จักเพลงสำหรับเด็กที่มีชื่อว่า "ใต้สะพานเมืองอาวิญง” (Sur le pont d'Avignon)  สะพานปง ดู การ์ด (Pont du Gard) ซึ่งเป็นสะพานส่งน้ำที่สูงที่สุดในยุคโรมัน  ตั้งอยู่ห่างจากเมืองอาวิญงราว 25 กิโลเมตร  ส่วนสะพานปง เดอ ต็องการ์วิลล์ (Pont de Tancarville) นั้นเป็นสะพานแขวนข้ามปากแม่น้ำแซน  และเป็นแรงบันดาลใจให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำริให้สร้างสะพานพระรามแปดขึ้น ซึ่งสะพานดังกล่าวนับเป็นสะพานขึงแห่งแรกที่สร้างขึ้นในประเทศไทย  ความโดดเด่นของสะพานแห่งนี้คือการเป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรโดยมีเสาสะพานหลักรูปตัววาย (Y) กลับด้านเพียงเสาเดียวบนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา  ส่วนสะพานวิอาดุก เดอ มิลโล (Viaduc de Millau) ในฝรั่งเศสซึ่งเริ่มเปิดใช้สองปีหลังจากสะพานพระรามแปด หรือในปี พ.ศ. 2547 นั้นนับเป็นสะพานแขวนเคเบิลที่สูงที่สุดในโลก โดยมีความสูงมากกว่าหอไอเฟลเสียด้วยซ้ำ  สะพานเหล่านี้เป็นสิ่งเชื่อมโยงมิตรภาพระหว่างประเทศไทยและประเทศฝรั่งเศส ทั้งยังสะท้อนให้เห็นถึงนวัตกรรมทางเทคโนโลยีซึ่งถ่ายทอดมาเป็นผลงานชิ้นเอกของงานสาขาวิศวกรรมโยธา

 

 

Subscribe
Previous
Des ponts à travers l'histoire (FR)
Next
Bridges across History
 Return to site
strikingly iconPowered by Strikingly
Profile picture
Cancel
Cookie Use
We use cookies to improve browsing experience, security, and data collection. By accepting, you agree to the use of cookies for advertising and analytics. You can change your cookie settings at any time. Learn More
Accept all
Settings
Decline All
Cookie Settings
Necessary Cookies
These cookies enable core functionality such as security, network management, and accessibility. These cookies can’t be switched off.
Analytics Cookies
These cookies help us better understand how visitors interact with our website and help us discover errors.
Preferences Cookies
These cookies allow the website to remember choices you've made to provide enhanced functionality and personalization.
Save